lada บันทึก " กรุงเทพมหานครโดยสานักสิ่งแวดล้อมได้ประสานหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา สมัยที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒๒ -๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ ซึ่งเป็นการประชุมเพื่อทบทวนและวิเคราะห์แนวโน้ม ของภูมิภาค และระบุความจาเป็นเร่งด่วน อีกทั้งหารือเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อมุ่งหวังให้ภูมิภาค เอเชียแปซิฟิก เกิดการฟื้นตัว ซึ่งตั้งอยู่บนความเจริญร่วมกัน ความเท่าเทียมทางสังคมและความยั่งยืน ทางสิ่งแวดล้อม สรุปผลการประชุมตามเอกสารแนบ คลิ๊กที่นี่ "
lada บันทึก " เพราะในแต่ละวันของคนส่วยนใหญ่จะใช้เวลาเกือบร้อยละ 90 อาศัยและทำกิจกรรมต่าง ๆ อยู่ภายในอาคาร จากรายงานการศึกษาขององค์การอนามัยโลก (WHO) เมื่อปี ค.ศ. 1984 พบว่าอาคารที่ก่อสร้างหรือปรับปรุงใหม่ทั่วโลกเกือบร้อยละ 30 กำลังประสบปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality) เป็นผลมาจากการออกแบบโครงสร้างอาคารที่เน้นเป็นอาคารระบบปิด และใช้เครื่องปรับอากาศแทนการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ใช้วัสดุ ตกแต่งอาคารและอุปกรณ์สำรักงานที่มีสารเคมีสะสมอยู่ เช่น สารฟอร์มาลดีไฮดืจากเฟอร์นิเจอร์ สารอินทรีย์ระเหยที่ผสมในสีทาห้อง น้ำยาทำความสะอาดพื้น ฝุ่นผงคาร์บอน และก๊าซโอโซนจากเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์ แร่ใยหินจากฉนวนกันความร้อน เป็นต้น จากปัจจัยดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศและสุขภาพอนามัยของผู้ใช้อาคา
เพราะในแต่ละวันของคนส่วยนใหญ่จะใช้เวลาเกือบร้อยละ 90 อาศัยและทำกิจกรรมต่าง ๆ อยู่ภายในอาคาร จากรายงานการศึกษาขององค์การอนามัยโลก (WHO) เมื่อปี ค.ศ. 1984 พบว่าอาคารที่ก่อสร้างหรือปรับปรุงใหม่ทั่วโลกเกือบร้อยละ 30 กำลังประสบปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality) เป็นผลมาจากการออกแบบโครงสร้างอาคารที่เน้นเป็นอาคารระบบปิด และใช้เครื่องปรับอากาศแทนการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ ใช้วัสดุ
ตกแต่งอาคารและอุปกรณ์สำรักงานที่มีสารเคมีสะสมอยู่ เช่น สารฟอร์มาลดีไฮดืจากเฟอร์นิเจอร์ สารอินทรีย์ระเหยที่ผสมในสีทาห้อง น้ำยาทำความสะอาดพื้น ฝุ่นผงคาร์บอน และก๊าซโอโซนจากเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพิมพ์ แร่ใยหินจากฉนวนกันความร้อน เป็นต้น จากปัจจัยดังกล่าวส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศและสุขภาพอนามัยของผู้ใช้อาคา
jeed บันทึก " กรุงเทพมหานคร โดยกองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดล้อม ได้ติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศและเสียงในปี ๒๕๕๔ (ม.ค. – มิ.ย. ๒๕๕๔) โดยใช้สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียงแบบอัตโนมัติจำนวน ๔ สถานี ได้แก่ สถานีสำนักงานเขตพระโขนง สถานีสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ สถานีศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ๒ (สวนป่าวิภาวดีรังสิต) สถานีสำนักงานเขตราชเทวี และจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียงแบบชั่วคราวริมถนนที่มีการจราจรหนาแน่น จำนวน ๕๐ จุด จากผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศและเสียง พบว่า
jeed บันทึก " ย้อนอดีตไปหลายปี ก่อนเมืองกรุงฯ เต็มไปด้วยควันพิษ จากวันนั้นถึงวันนี้ คุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยรวมดีขึ้นตามลำดับ สอดคล้องกับผลการตรวจวัดอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลากว่า ๑๐ ปี ที่ผ่านมา สารมลพิษทางอากาศส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน มีเพียงฝุ่นละอองที่ยังเป็นปัญหาเกินมาตรฐานบริเวณริมถนน และโอโซนสูงบ้างในบริเวณชานเมือง ความสำเร็จที่เกิดขึ้นเป็นเพราะภาครัฐและเอกชนได้กำหนดมาตรการต่างๆเป็นนโยบาย รวมทั้งประชาชนที่ได้ร่วมระดมสรรพกำลังดำเนินการอย่างต่อเนื่องดังนี้
nita บันทึก " การสร้างชุมชนนักปฏิบัติภายในหน่วยงาน (Community of Practice : CoP)ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ เรื่อง GIS กับการประยุกต์ใช้ในงานจัดการคุณภาพอากาศและเสียง การดำเนินงานด้านคุณภาพอากาศและเสียงจำเป็นต้องใช้องค์ความรู้ GIS มาประยุกต์ใช้ให้การบริหารจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใช้จะสามารถตอบคำถามต่าง ๆ ในเชิงพื้นที่ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรกายภาพความหนาแน่นของประชากร การเติบโตของชุมชนและอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน เป็นต้